เอกสารอ้างอิง

บรรณานุกรม

กนิษฐา นิทัศน์พัฒนา; และคณะ. (2541). จิตสำนึกทางสังคมของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
มหาวิทยาลัยมหิดล. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหิดล.
กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2540). กระบวนการพัฒนาแฟ้มสะสมงานของนักเรียน.
กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภา.
กอบรัตน์ เรืองผกา; อารมณ์ สุวรรณปาล; และ ประภาพรรณ เอี่ยมสุภาษิต. (2532). เอกสารการสอน
ชุดวิชาฝึกอบรมครูและผู้เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย หน่วยที่ 11 15. นนทบุรี:
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช.
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2543). จอมปราชญ์นักการศึกษา. กรุงเทพฯ: ซัคเซสมีเดีย.
จรรจา สุวรรณทัต. (2535). ประมวลบทความวิชาการฉบับพิเศษ. .. 2525 – 2535. กรุงเทพฯ:
สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
จิตสำนึกเส้นทางสู่ประชาคม. (2542, กรกฎาคมกันยายน). สื่อพลัง. 7(3): 3 – 19.
ชัยวัฒน์ ถิระพันธ์. (2542, กรกฎาคม - กันยายน). Chaos Theory กับจุดเปลี่ยนสังคมไทย.
สื่อพลัง. 7(3): 21 – 27.
ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. (2552). สอนเด็กให้มีจิตสาธารณะ. กรุงเทพฯ: วี พรินท์ (1991).
ชาย โพธิสิตา; และคณะ. (2540). รายงานการศึกษาวิจัยเรื่อง จิตสำนึกต่อสาธารณะสมบัติ :
ศึกษากรุงเทพมหานคร. นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.
ดวงเดือน พันธุมนาวิน. (2538). ทฤษฎีต้นไม้จริยธรรม การวิจัยและการพัฒนาบุคคล. โครงการ
ส่งเสริมเอกสารวิชาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. ถ่ายเอกสาร.
บุญสม หรรษาศิริพจน์. (2542, มกราคม). จิตสำนึก. วารสารวิชาการสภาอาจารย์
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. 4(1): 71 – 73.
พรศักดิ์ ผ่องแผ้ว. (2541). ข้าราชการไทย: ความสำนึกและอุดมการณ์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม; และ สังคม สัญจร. (2543). สำนึกไทยที่พึงปรารถนา. กรุงเทพฯ:
โรงพิมพ์เดือนตุล.
มัลลิกา มัติโก. (2541). จิตสำนึกทางสังคมของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล.
ปริญญานิพนธ์. ศษ.. (การมัธยมศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยมหิดล (ศาลายา). ถ่ายเอกสาร.
ยุทธนา วรุณปิติกุล. (2542). สำนึกพลเมือง : ความเรียงว่าด้วยประชาชนบนเส้นทางประชาคม.
กรุงเทพฯ: มูลนิธิการเรียนรู้และพัฒนาประชาคม.
รัญจวน อินทรกำแหง. (2539). วรรณกรรมวิจารณ์. กรุงเทพฯ: ต้นอ้อแกรมมี่.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2538). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.. 2525. พิมพ์ครั้งที่ 5.
กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.ลัดดาวัลย์  เกษมเนตร (2546: 2 3)
ลัดดาวัลย์ เกษมเนตร; และคณะ. (2547). รูปแบบการพัฒนานักเรียนระดับประถมศึกษาให้มี
จิตสาธารณะ : การศึกษาระยะยาว. ใน เอกสารประกอบการประชุมวิชาการเนื่องในวัน
สถาปนาสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ครบรอบ 49 ปี. หน้า 1 – 3. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ.

วิรัตน์ คำศรีจันทร์. (2544). จิตสำนึกพลเมืองในบริบทสังคมไทย. วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรดุษฎี
บัณฑิต (ประชากรศึกษา).  (ม.ป.ป.).  กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.
ถ่ายเอกสาร.
วิรุณ ตั้งเจริญ. (2547, พฤศจิกายน - ธันวาคม). มศว พลวัตร. 1(1): 2 – 3.
ศักดิ์ชัย นิรัญทวี. (2541, พฤศจิกายน). บทบาทของมหาวิทยาลัยกับการศึกษาเพื่อความเป็น
ประชาสังคม. ASAHIL THAILAND JOURNAL. 1(1): 52 – 69.
สมพงษ์ สิงหะพล. (2542, มิถุนายนตุลาคม). ต้องสอนให้เกิดจิตสำนึกใหม่. สีมาจารย์. 13(27):
15 – 16.
สยามรัฐ เรืองนาม. (2542). ความรู้ทางการเมืองและการรับรู้ข่าวสารทางการเมืองกับความสำนึก
เชิงสังคมของประชาชนในองค์การบริหารส่วนตำบล จังหวัดกาญจนบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญา
มหาบัณฑิต (สาขารัฐศาสตร์). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สอ เสถบุตร. (2530). New Model English – Thai Dictionary. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. (2542). วาระการวิจัยแห่งชาติในภาวะวิกฤตเพื่อฟื้นฟูชาติ.
กรุงเทพฯ: สำนักงานฯ.
สิริมา ภิญโญอนันตพงษ์. (2544). รายงานการวิจัยเรื่อง การปลูกฝังเด็กปฐมวัยให้รักสิ่งแวดล้อมด้วย
แบบฝึกกิจกรรมการบ้านและการปฏิบัติจริง. กรุงเทพฯ: สาขาการศึกษาปฐมวัย ภาควิชา
หลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สุชาดา จักรพิสุทธิ์. (2544, กรกฎาคม). จิตสำนึกสาธารณะ. ศิลปวัฒนธรรม. 22 (9): 22 – 23
หฤทัย อาจปุระ. (2544). ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ภาวะผู้นำ รูปแบบการดำเนินชีวิต
และความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเองกับการมีจิตสำนึกสาธารณะของนักศึกษาพยาบาล.
วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตร์มหาบัณฑิต. (โสตทัศนศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ถ่ายเอกสาร.
Raj, M. (1996). Consciousness. Encyclopedia Dictionary of Psychology and Education.
New Delhi: Anmol.
Sills, D.L. (1972). Leadership International Encyclopedia of the Social Sciences.

New York. The Macmillan & The Free Press.

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น